บทความ

แบบจำลองพฤติกรรมผู้ซื้อในระดับองค์กร

วัตถุประสงค์ของบทความนี้คืออธิบายแบบจำลองพฤติกรรมผู้ซื้อในระดับองค์กร ความรู้สำคัญเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ซื้อในระดับองค์กรมีปรากฏอยู่แล้ว แบ่งออกเป็น 3 ประการ 1. งานวิจัยเชิงประจักษ์ที่ทำขึ้นอย่างเป็นระบบการซื้อ การปฏิบัติของพนักงานซื้อ และผู้ซื้อระดับองค์กร 2. รายงาน และการสังเกตผู้ซื้อในระดับองค์กร 3. บทความที่วิเคราะห์ ศึกษา จำลอง และรายงานกิจกรรมการซื้อในระดับองค์กร อย่างไรก็ตามสิ่งที่ต้องการคือการบูรณาการความรู้ข้างต้น เพื่อสร้างแบบจำลองพฤติกรรมผู้ซื้อในระดับองค์กรที่สมจริง และครอบคลุมทุกองค์ความรู้ ในบทความนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์อันได้แก่ เพื่อขยายมุมมองการวิจับเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ซื้อในระดับองค์กร เพื่อเป็นตัวเร่งการสร้างระบบข้อมูลทางการตลาดจากมุมมองของผู้ซื้อในระดับองค์กร เพื่อสร้างสมมติฐานใหม่ๆ สำหรับการวิจัยเกี่ยวกับกระบวนการพื้นฐานซึ่งเน้นย้ำถึงพฤติกรรมผู้ซื้อในอนาคต คำจำกัดความของพฤติกกรรมผู้ซื้อในระดับองค์กร แบบจำลองพฤติกรรมผู้ซื้อในระดับองค์กรสามารถสรุปได้ดังแผนภาพที่ 1 แม้ว่าการนำเสนอโดยแผนภาพดังกล่าวจะดูซับซ้อนเนื่องจากมีตัวแปรหลายตัวแ

Final BUS702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฏิบัติ

รูปภาพ
Final BUS702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฏิบัติ

GAP model

รูปภาพ
Service Quality (Servqual) GAP model GAP 1 GAP 1 Customer expectation-management gap. This gap addresses the difference between consumers’ expectations and management’s perceptions of service quality. GAP 1 Consumer expectation-management perception gap : Management may have inaccurate perception of what consumers actually expect. It requires the appropriate management processes, market analysis tools and attitude. GAP 1 Is essentially measured as the difference in actual customer expectations and perception of managers about customer expectations. สรุป ความต้องการของลูกค้าและการจัดการความต้องการของลูกค้า ในการบริการจะต้องนักการตลาดจะต้องจัดการความคาดหวังทั้ง/ให้เหมาะสมต้องการให้บริการ GAP 2 GAP 2 Management perception-service quality specifications gap. This gap addresses the difference between management’s perceptions of consumer’s expectations and service quality specifications, i.e. improper service-quality standards. GAP 2 Is measured as the distance between the percept

Conceptual framework of Decision support Model

รูปภาพ
Conceptual framework of DSI Model TPS, Transaction Process System ระบบประมวลผลการดำเนินงานทางธุรกรรม หรือ TBS Transaction - based systems ระบบข้อมูลพื้นฐานการซื้อขาย คือเก็บและรายงานการสร้างข้อมูลการทำธุรกรรมในหน้าที่ธุรกิจที่เป็นพื้นฐาน เช่น ตู้ ATM เก็บข้อมูลและประมวลผลรายการธุรกรรม DBS data-based systems, ระบบข้อมูลพื้นฐาน คือเก็บข้อมูลทั้งหมด ทั้งภายนอกภายในองค์กร หรือ DBMS data-based management systems ระบบการจัดการข้อมูลพื้นฐาน โดยใช้ Software เข้าไปจัดการ ฐานข้อมูล Data - based MIS Management information systems ระบบสาระสนเทศเพื่อการจัดการ เป็น Software ที่นักโปรแกรมเมอร์สร้างขึ้น ผู้ใช้คือผู้บริหาร ระดับสูง กลาง ล่าง ประมวลผลในรูปแบบ กราฟ ตาราง เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจและการดำเนินงาน DSS Decision support systems ระบบช่วยในการตัดสินใจ เป็นระบบ Software ผู้ใช้คือผู้บริหารหรือผู้ชำนาญเท่านั้น ใช้เพื่อประมวลผลออกมาเป็นตาราง กราฟ เพื่อเป็นโมเดลสนับสนุนการตัดสินใจ ES ระบบการตลาดอัจฉริยะ เหมือนกับ DSS แต่ง่ายต่อการใช้งาน ไม่จำเป็นต้องผู้

บทที่ 10 Strategic Marketing Conceptual Framework

รูปภาพ
บทที่ 11 Strategic Marketing Conceptual Framework กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ได้จากทบทวนวรรณกรรมของนักวิจัยในอดีต ได้แก่ Kotler (2000); Kotler (2003); Kriemadis & Terzoudis (2007); Ayub & Razzaq (2013); Iyamabo & Otubanjo (2013) พบว่า แรง กดดันจากสภาพแวดล้อม (Environment Pressure) ส่งผลทางตรงต่อการตลาดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Marketing) ขณะที่การตลาดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Marketing) ส่งผลทางตรงต่อการประเมินผลการดำเนินงานทางการตลาด (Marketing Evaluation) โดยการทบทวนและการควบคุมแผนการดำเนินงานทางการตลาด (Marketing Review and Control) ส่งผลร่วมต่อการประเมินผลการดำเนินงานทางการตลาด (Marketing Evaluation) ทั้งนี้สามารถอธิบายความหมายขององค์ประกอบแต่ละตัวแปรได้ดังนี้ • แรงกดดันจากสภาพแวดล้อม (Environment Pressure) ประกอบด้วย (External Environment) 2 องค์ประกอบ ได้แก่ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก และ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) • การตลาดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Marketing) ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ปัจจัยการวางแผนองค์กรเชิงกลยุทธ์ (Corporate Str

บทที่ 9 Distribution

รูปภาพ
ข้อจำกัด: การจัดจำหน่าย (Distribution) หมายถึง กระบวนการในการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ให้ถูกที่และถูกเวลา Definition: One of components of marketing mix that in simplest task transfer the product from the production place to the purchase place to the customer. In other words, the main task of distribution management is placing the goods in hand of potential customers at the right time and place. (Roosta, A. Venus, D. Ebrahim, Abdul., 2009) The purpose of the distribution channel is to distribute the product from manufacturer to the end user to the right time to the right place (Klein and Frazier, 1990). การออกแบบช่องทางการกระจายสินค้า โดยมีกระบวนการ ดังนี้ 1. วิเคราะห์วัตถุประสงค์ของช่องทางการกระจายสินค้า 2. วิเคราะห์องค์กร คู่แข่งขัน และข้อจำกัดของสภาพแวดล้อม 3. วิเคราะห์งานที่จะเกิดขึ้นจากช่องทางการกระจายสินค้า 4. กำหนดความเป็นไปได้ของทางเลือก 5. ประเมินทางเลือก 6. การใช้ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในการกำหนดทางเลือก 7. เลือกช่องทางการกระจายสินค้าที่เหมาะสม

บทที่ 8 Sales Force

รูปภาพ
บทที่ 8 Sales Force หมายถึงกลุ่มบุคคลตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไปทำหน้าที่รับผิดชอบในการติดต่อแสวงหาลูกค้า การเสนอขาย ตลอดจนการให้บริการก่อนและหลังการขาย สรุปจากบทความที่ได้รับมอบหมายจาก อาจารย์วิชิต อู่อ้น ดังนี้ บริษัทจำเป็นต้องมีพนักงานขายในการเข้าถึงลูกค้าทุกระดับ และพนักงานขายมีหน้าที่หลายอย่างทั้งในการค้นหาลูกค้าใหม่ เพื่อสื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของบริษัทและยังต้องชักชวนลูกค้าให้ซื้อสินค้านั้นให้ได้ด้วย บริษัทจึงจำเป็นต้องจัดให้มีการอบรมและสร้างแรงจูงใจให้กับพนักงานขายให้มีประสิทธิภาพ โมลเดล โครงสร้างการตัดสินใจของหน่วยขาย 1.กำหนดเป้าหมายสำหรับการตัดสินใจของฝ่ายขาย 2.การกำหนดขนาด:การบังคับขนาดการขาย 3.การจัดสรรความพยายาม : บนผลิตภัณฑ์ เลือกลูกค้า การออกแบบทางภูมิศาสตร์/อาณาเขต และการกำหนดเวลา 4.การจัดและควบคุมความพยายาม : แรงจูงใจ ค่าตอบแทน ข้อเสนอแนะและการควบคุม จากการรีวิวบทความที่เกี่ยวข้องจึงสรุปได้ว่า การที่จะทำให้มีประสิทธิภาพในการขายของพนักงานขาย ประกอบไปด้วยตัวแปรดังนี้คือ การสื่อสาร ความสามารถ ทักษะ และจริยะธรรม